วันอังคารที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2556

การวัดปริมาตรและน้ำหนัก

คำชี้แจง นักเรียนศึกษาการวัดปริมาตรและน้ำหนัก แล้วให้นักเรียนทำแบบฝึกตั้งแต่หมายเลข 5 เป็นต้นไป 
 ตามลิงก์ข้างล่างนี้คะ

การวัดปริมาตรและน้ำหนัก
หน่วยการวัดปริมาตรในระบบเมตริก
                1              ลูกบาศก์เซนติเมตร             เท่ากับ    1,000      หรือ  103 ลูกบาศก์มิลลิเมตร
                1              ลูกบาศก์เมตร                       เท่ากับ    1,000,000  หรือ    106          ลูกบาศก์เซนติเมตร
                1              ลูกบาศก์เซนติเมตร             เท่ากับ    1              มิลลิลิตร
                1              ลิตร                                        เท่ากับ    1, 000     หรือ        103           มิลลิลิตร
                หรือ        1              ลิตร                        เท่ากับ    1, 000     หรือ        103           ลูกบาศก์เซนติเมตร
                1, 000     ลิตร                                        เท่ากับ    1              ลูกบาศก์เมตร

หน่วยการวัดปริมาตรในระบบอังกฤษ

3              ช้อนชา                  เท่ากับ    1              ช้อนโต๊ะ
16           ช้อนโต๊ะ               เท่ากับ    1              ถ้วยตวง
1              ถ้วยตวง                 เท่ากับ    8              ออนซ์
หน่วยการวัดปริมาตรในระบบอังกฤษ เทียบกับระบบเมตริก ( โดยประมาณ )
1              ช้อนชา                  เท่ากับ    5              ลูกบาศก์เซนติเมตร
1              ถ้วยตวง                 เท่ากับ    240         ลูกบาศก์เซนติเมตร

หน่วยการวัดน้ำหนักในระบบเมตริก
1              กรัม                        เท่ากับ    1, 000     หรือ    103               มิลลิกรัม
1              กิโลกรัม เท่ากับ    1, 000     หรือ    103               กรัม
1              เมตริกตัน ( ตัน )  เท่ากับ    1, 000     หรือ   103                กิโลกรัม

หน่วยการวัดน้ำหนักในระบบเมตริกเทียบกับระบบอังกฤษ (โดยประมาณ)
1              กิโลกรัม เท่ากับ    2.2046   ปอนด์
1              ปอนด์                    เท่ากับ    0.4536   กิโลกรัม

มาตราตวงไทย
1 เกวียน                     =                    2  ปั้น (100 ถัง)
1 ปั้น                         =                   50  ถัง
1 ถัง                          =                  20  ลิตร
1 ทะนานหลวง             =                    1 ลิตร
1 สัดหลวง                  =                  20  ลิตร
1 ยก(วัดปริมาตรไม้)      =              17.78  ลูกบาศก์ฟุต

หน่วยการตวงระบบประเพณีไทยเทียบกับระบบเมตริก
กระทรวงพาณิชย์ได้กำหนดการเทียบหน่วยการตวงระบบประเพณีไทยกับระบบเมตริกเพื่อการซื้อขาย คือ กำหนดให้
ข้าวสาร                  1              ถัง           มีน้ำหนัก               15           กิโลกรัม
ข้าวสาร                  1              กระสอบ มีน้ำหนัก             100         กิโลกรัม

ตัวอย่าง

                1นิดดื่มน้ำวันละ 2 แก้ว แก้วละ 8 ออนซ์ ในแต่ละวันนิดต้องดื่มน้ำกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
                                เนื่องจาก  8  ออนซ์             เท่ากับ  1  ถ้วยตวง
                                นม  2   แก้ว  แก้วละ  8  ออนซ์  คิดเป็นนม  3  ถ้วยตวง
                                เนื่องจาก   1  ถ้วยตวง  เท่ากับ  240  ลูกบาศก์เซนติเมตร
                                ดังนั้น  นม  2  ถ้วยตวง  คิดเป็นนม  2  x  240   =   480  ลูกบาศก์เซนติเมตร
                                นั่นคือ นิดดื่มนมวันละ  480  ลูกบาศก์เซนติเมตร
                                ตอบ  480    ลูกบาศก์เซนติเมตร
   
2. นกมีน้ำหนัก  96 ปอนด์ อีก 4 เดือนต่อมาไปชั่งน้ำหนักได้  45.5 กิโลกรัม น้ำหนักของนกคนเพิ่มขึ้นกี่กิโลกรัม ( กำหนดให้ 1 กิโลกรัม เท่ากับ 2.2 )
                                เนื่องจาก  1  กิโลกรัม  เท่ากับ  2.2  ปอนด์
                                นกมีน้ำหนัก  96  ปอนด์  คิดเป็นน้ำหนัก     96   =   43. 6  กิโลกรัม
                                                                                                                 2.2
                                อีก 4 เดือนต่อมามีน้ำหนักเป็น  45.5  กิโลกรัม
                ดังนั้น นกมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น   45.5  -  43.6  =   1.9  กิโลกรัม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น